Call us: 02-3282110 | E-mail: training@trainerinthai.com

Uncategorized

การตรวจประเมินภายในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001

วัตถุประสงค์ • เพื่อทบทวนความเข้าใจข้อกำหนด OHSAS 18001 • เพื่อเรียนรู้แนวทางการตรวจประเมินภายในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามข้อกำหนด • เพื่อเรียนรู้การเป็นผู้ตรวจประเมินภายในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระยะเวลา: 2 วัน (9:00 น. – 16:00 น.) หัวข้อการฝึกอบรม วันที่ 1 เช้า  แนะนำมาตรฐาน OHSAS 18001  ทบทวนข้อกำหนด OHSAS 18001 – นโยบายและการวางแผนระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย – การดำเนินงานและการปฏิบัติตามระบบ บ่าย  ทบทวนข้อกำหนด OHSAS 18001 (ต่อ) – การตรวจสอบและวัดผล วันที่ 2 เช้า  การวางแผนการตรวจประเมิน  บทบาทและหน้าที่ของผู้ตรวจประเมิน  การเตรียมหัวข้อการตรวจประเมิน (Checklists)  งานกลุ่ม บ่าย  […]

Read more

เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ

หลักการและเหตุผล ปัญหาเป็นเรื่องปกติที่จะมีเกิดขึ้นในหน่วงงาน ปัญหาเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และอาจเกิดขึ้นโดยที่เราสามารถคาดคิดมาก่อนหรือไม่ก็ได้ ปัญหาบางเรื่องควบคุมไม่ให้เกิดได้ ในขณะที่บางเรื่องควบคุมไม่ได้ เราสามารถแก้ไขปัญหาให้ถูกจุกและให้บรรเทาเบาบางได้หรือลดขนาดความเสียหายที่เกิดขึ้นให้น้อยลงได้ ถ้าเรามีหลักการในการแก้ปัญหาอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์1 . เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทบทวนและทำความเข้าใจเพิ่มเติมในเรื่อง “การแก้ปัญหาและตัดสินใจ” 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบถึงสาเหตุหรือที่มาของปัญหาต่างๆ พร้อมแนวทางการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง สามารถอธิบายและขจัดอุปสรรค/ปัญหาที่เกิดขึ้น ให้เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถกำกับดูแลบุคคลในสังกัดและงานที่รับผิดชอบ ให้เป็นไปอย่างราบรื่นและไร้ปัญหา ปราศจากภาวะกดดันที่จะมากระทบต่อความเป็นอยู่หรือการทำงานของสมาชิกในหน่วยงาน 4. เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานความเป็นหัวหน้าในอีกด้านหนึ่งคือ “การแก้ปัญหาและตัดสินใจ”ให้มีประสิทธิภาพ และผลลัพธ์จากการแก้ไขปัญหาต่างๆ นั้นได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิผล หัวข้อในการฝึกอบรม ก. การปรุงแต่งความคิดพื้นฐานก่อนเข้าสู่เนื้อหา (INTRODUCTON) 1. มุมมองต่างๆ ของบุคคลทั่วไปในการมองปัญหาที่เกิดขึ้น 2. ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกันในเรื่อง “วิสัยทัศน์” (VISION) กับการแก้ปัญหาและตัดสินใจ 3. ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกันระหว่าง “ความคิดสร้างสรรค์” (CREATIVE THINKING) 4. ปัจจัยต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคทำให้บุคคลไม่เกิดความคิดสร้างสรรค์ในตัวเอง 5. ลักษณะ 10 ประการที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลมีความคิดสร้างสรรค์ 6. ปัจจัยพัฒนาวิสัยทัศน์ผู้นำในการแก้ปัญหาให้มีประสิทธิภาพที่กว้างไกล (WIDE & RIGHT) ข. […]

Read more

ต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality)

หลักการและเหตุผล การพัฒนางานอุตสาหกรรมให้มีความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้นนั้นมีความจำเป็นต้องดำเนินการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ โดยมีต้นทุนที่เหมาะสม ดังนั้นผู้บริหารงานอุตสาหกรรมจึงต้องสนใจในเรื่องความสามารถของกระบวนการผลิต ตลอดจนการควบคุมกระบวนการผลิตเพื่อให้เกิดคุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามที่ต้องการ เพื่อที่จะลดความสูญเสีย และลดต้นทุน แต่ในการดำเนินการเพิ่มคุณภาพอาจทำให้ต้นทุนสูงขึ้น การวัดและการประเมินต้นทุนคุณภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการหาจุดที่คุ้มค่าที่ในในการประสานระหว่างเรื่องการ ปรับปรุงคุณภาพ และการลดต้นทุน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกและการจัดการผลิตในยุคโลกาภิวัตร 2. เพื่อให้ทราบถึงความหมายและแนวคิดคุณภาพ องค์ประกอบการเพิ่มผลผลิต 3. เพื่อให้เข้าใจถึง ต้นทุนคุณภาพ ต้นทุนการผลิต ผลกำไร การปรับปรุงการลดต้นทุนแต่ไม่ลดคุณภาพ 4. เพื่อให้สามารถเข้าใจหลักการเก็บข้อมูลด้านคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลและกำหนดแนวทางการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ เนื้อหาหลักสูตร 1. การเปลี่ยนแปลงของโลกและการจัดการผลิตในยุคโลกาภิวัตร 2. ความสำคัญของคุณภาพ และองค์ประกอบการเพิ่มผลผลิต 3. ความสูญเสียและความสูญเปล่าต่างๆในองค์การ 4. องค์ประกอบของต้นทุนคุณภาพ 5. การเก็บข้อมูลและคำนวณวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพ 6. เทคนิคการปรับปรุงการลดต้นทุนแต่ไม่ลดคุณภาพ 7. กรณีศึกษา และ Workshop คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : หัวหน้าแผนก, วิศวกร, หัวหน้างานที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลาการอบรม : 1-2 วัน วิธีการอบรม : […]

Read more

จิตสำนึกในระบบคุณภาพ

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันการแข่งขันในธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น นอกเหนือจากด้านการตลาดที่มีการแข่งขันอย่างต่อเนื่องและเข้มข้นแล้ว ในเรื่องของระบบคุณภาพถือเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ในหลาย ๆ องค์กรมีการนำระบบคุณภาพมาใช้ในธุรกิจ แต่สิ่งสำคัญที่จะทำให้องค์กรได้รับประโยชน์จากระบบคุณภาพต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในองค์กรได้นั้น ส่วนหนึ่งต้องมาจากจิตสำนึกของบุคลากรที่อยู่ในองค์กรนั้น ๆ ด้วย ดังนั้นหลักสูตร “จิตสำนึกด้านคุณภาพเบื้องต้น” จึงเป็นหลักสูตรหนึ่งที่จะให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของคุณภาพ รวมถึงอธิบายความแตกต่างระหว่าง “การประกันคุณภาพ” กับ “การควบคุมคุณภาพ” ว่าเป็นอย่างไร ตลอดจนช่วยเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณภาพให้กับบุคลากรภายในองค์กรในเบื้องต้น เพื่อที่จะพัฒนาไปสู่ระบบคุณภาพในระดับต่อ ๆ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับคำว่า “คุณภาพ” และประโยชน์ของคุณภาพความแตกต่าง ระหว่างการตรวจสอบคุณภาพ (QC) กับการประกันคุณภาพ (QA) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความตระหนักถึงการพัฒนาคุณภาพ หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ความหมายของคุณภาพ 2. ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพ 3. การควบคุมคุณภาพคืออะไร 4. การประกันคุณภาพคืออะไร 5. ความแตกต่างระหว่าง Q.C. และ Q.A. 6. พัฒนาการของคำว่า […]

Read more

การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN)

หลักการและเหตุผล องค์กรของท่านยังทำงานที่เหนื่อยหนัก แต่ได้ผลงานไม่คุ้มค่า มีการยึดติดกับวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ โดยไม่คิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอบรมพัฒนาพนักงาน หากเป็นเช่นนั่นแสดงว่าในองค์กรของท่านไม่รู้จัก “ไคเซ็น” และไม่ได้นำไคเซ็นมาเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานในองค์กร ซึ่งหากองค์กรได้นำเอาวิธีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องมาใช้แล้วปัญหาในการทำงานจะเกิดความผิดพลาดน้อยลง ดังนั้น หลักสูตร “การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง (KAIZEN)” จึงเป็นเหมือนเข็มทิศชี้ให้องค์กรเห็นถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหา พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงงาน เพื่อหยุด ลด และเปลี่ยนแปลง วิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด เพราะไคเซ็นจะบอกให้ท่านรู้ว่ายังคงมี “เรื่องที่ควรทำแต่ยังไม่ได้ทำ” อยู่อีกมากในกระบวนการทำงานในองค์กรของท่าน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจ ถึงแนวคิดและความเป็นมาของกิจกรรมข้อเสนอแนะของวิธีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงแนวทางและขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดการพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างถูกวิธีและ ทราบถึงอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง หัวข้อวิชาในการสัมมนา 1. ไคเซ็นคืออะไร วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจถึงความสำคัญและความหมายของวิธีการ ปรับปรุงงานแบบไคเซ็น 2. หลักการและข้อเสนอแนะเบื้องต้นของไคเซ็นในการปรับปรุงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงหลักการเบื้องต้นในการนำไคเซ็น มาใช้ในองค์กรรวมถึงข้อเสนอแนะวิธีการปรับปรุงงาน 3. ขั้นตอนและเครื่องมือในการปรับปรุงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าถึงขั้นตอนในการปรับปรุงงานและเครื่อง มือที่ก่อให้เกิดการปรับปรุงงานแบบไคเซ็น 4. เทคนิคในการมองปัญหา วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รู้ถึงสาเหตุของปัญหาในการจัดทำ การปรับปรุงงานและสามารถวิเคราะห์ปัญหา พร้อมหา แนวทางในการแก้ไขที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด […]

Read more

ความรู้พื้นฐานกิจกรรมกลุ่ม QCC

หลักการและเหตุผล ในแต่ละหน่วยงานในองค์กรเน้นคุณภาพในการทำงาน กิจกรรมกลุ่ม QCC. เป็นกิจกรรมกลุ่มที่ช่วยให้มีการทำงานร่วมกัน การแก้ปัญหาและปรับปรุงงานร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในการทำงาน ดังนั้นหลักสูตร “ความรู้พื้นฐานกิจกรรมกลุ่ม QCC.” จึงเป็นหลักสูตรที่ช่วยให้ความรู้พื้นฐานด้านกิจกรรมกลุ่ม QCC. โดยจะอธิบายเกี่ยวกับหลักการและวิธีการ การบริหารกลุ่ม QCC. เพื่อการปรับปรุงงานและองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เข้าใจอุดมการณ์ และวิธีการของกลุ่ม QCC. 2. ให้ตระหนักในความจำเป็นของสถานการณ์ที่จะส่งเสริม QCC. ในองค์กร 3. ให้มีความรู้ในหลักพฤติกรรมศาสตร์,หลักสถิติและทักษะต่างๆ ที่จำเป็นต่อการดำเนินงานกลุ่ม QCC. 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเทคนิคและวิธีการในการปรับปรุงคุณภาพ โดยใช้เทคนิคของ QCC. 5. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้มีความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ประวัติความเป็นมาและความหมายของกลุ่ม QCC. 2. อุดมการณ์ หลักการและวิธีการของกลุ่ม QCC. 3. หลักสถิติที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QCC. 4. วิธีการและขั้นตอนในการรับ QCC. ไปปฎิบัติ 5. นโยบาย กฎเกณฑ์และหลักปฎิบัติในการดำเนินงานกลุ่ม QCC. 6. การจัดโครงสร้างและการบริหารกลุ่ม […]

Read more

วิเคราะห์ต้นทุนในงานอุตสาหกรรม

หลักการและเหตุผล ต้นทุนเป็นสิ่งที่ผู้บริหารงานอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ เนื่องจากต้นทุนเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความอยู่รอดขององค์กร การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันขององค์กรให้สูงขึ้น ดังนั้นหลักสูตร “การวิเคราะห์ต้นทุนในงานอุตสาหกรรม” จะเป็นหลักสูตรที่สอนให้ผู้บริหารงานอุตสาหกรรม, หัวหน้าหน่วยงาน และวิศวกรสามารถวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานโดยการวิเคราะห์ต้นทุนที่เกิดขึ้น ตลอดจนสามารถใช้การวิเคราะห์ต้นทุนช่วยในการตัดสินใจในการบริหารการผลิตกรณีต่างๆ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงประโยชน์ในการวิเคราะห์ต้นทุนเพื่อการบริหารและการจำแนกประเภทของต้นทุนในงานอุตสาหกรรม 2. เพื่อให้สามารถวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานโดยการใช้ระบบต้นทุนมาตรฐานและงบประมาณยืดหยุ่น 3. เพื่อให้สามารถใช้การวิเคราะห์ต้นทุนช่วยในการตัดสินใจในกรณีต่างๆ หัวข้อวิชาการอบรม 1. ประโยชน์ของการวิเคราะห์ต้นทุนในการบริหารงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงประโยชน์และความสำคัญของการวิเคราะห์ต้นทุน 2. แนวคิด ความหมาย และการจำแนกประเภทต้นทุนในงานอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงความหมายของต้นทุน 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถจำแนกประเภทของต้นทุนและคำนวณต้นทุน ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ได้ 3. การคิดค่าเสื่อมราคา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงวิธีการต่างๆในการคิดค่าเสื่อมราคา 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงประโยชน์ของค่าเสื่อมราคาในการคำนวณภาษี 4. การใช้ต้นทุนเพื่อตัดสินใจในปัญหาระยะสั้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงวิธีการใช้ต้นทุนในการวิเคราะห์และตัดสินใจใน ปัญหาระยะสั้นในกรณีต่างๆ 5. การวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานของศูนย์ต้นทุนโดยการใช้ระบบต้นทุนมาตรฐานและงบประมาณยืดหยุ่น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงความหมายของศูนย์ต้นทุน 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงวิธีการการวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานของ ศูนย์ต้นทุนโดยการใช้ระบบต้นทุนมาตรฐานและงบประมาณยืดหยุ่น 6. การวิเคราะห์ต้นทุน, ปริมาณ, […]

Read more

เทคนิคการวางแผนและควบคุมการผลิต

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรมทุกประเภทจะต้องพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาเนื่องจาก สภาวการณ์ แข่งขันที่รุนแรง การวางแผนและควบคุมการผลิตเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้บริหารงาน อุตสาหกรรมควรคำนึงถึงการวางแผนและควบคุมการผลิตที่มีประสิทธิภาพจะทำให้องค์กรสามารถทำการผลิตผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง และส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้ตามที่ลูกค้าต้องการ ตลอดจนเกิดต้นทุนในการดำเนินงานต่ำที่สุด ดังนั้นเทคนิคการวางแผนและควบคุมการผลิตเป็นสิ่งที่ผู้บริหารโรงงาน, วิศวกร และหัวหน้างาน ควรเรียนรู้เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงบทบาทความสำคัญของการวางแผนและควบคุมการผลิตในงานอุตสาหกรรม 2. เพื่อให้ทราบถึงเทคนิคการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าและการประยุกต์ใช้ 3. เพื่อให้ทราบถึงเทคนิคการวางแผนการผลิตรวม, การจัดทำตารางการผลิตหลักและการประยุกต์ใช้ 4. เพื่อให้ทราบถึงเทคนิคการวางแผนวัสดุการผลิตและการประยุกต์ใช้ 5. เพื่อให้ทราบถึงเทคนิคการจัดสมดุลสายการผลิต, การจัดลำดับงานและการประยุกต์ใช้ หัวข้อวิชาการอบรม 1. บทบาทความสำคัญของการวางแผนและควบคุมการผลิตในงานอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงบทบาทความสำคัญของการวางแผนและควบคุม การผลิต 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงการไหลเวียนของข้อมูลในระบบการวางแผนการ ผลิต 2. เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าและการประยุกต์ใช้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงทฤษฎีของการพยากรณ์แบบต่างๆ เช่น Least Square, Moving Average, Exponential Smoothing เป็นต้น 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Excel ในการพยากรณ์ 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประเมินความคลาดเคลื่อนของการการพยากรณ์ 3. เทคนิคการวางแผนการผลิตรวม, […]

Read more

การลดต้นทุนจากความสูญเสีย 7 ประการ (7 Waste)

หลักการและเหตุผล การกำจัดความสูญเสีย (7 Waste) เป็นกุญแจ หนึ่งในระบบ Lean Manufacturing เป็นระบบกำจัด ความสูญเสีย และปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องใน กระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกิจกรรม ข้อเสียจากการมี 7 Waste คือ ใช้เวลาการผลิตนาน สินค้ามีคุณภาพต่ำ และต้นทุนสูง ทั้งนี้กระบวนการผลิต มักจะพบว่ามีความสูญเสียต่างๆแฝงอยู่ไม่มากก็น้อย ซึ่งเป็นเหตุให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงมีแนวคิดเพื่อพยายามจะลดความสูญเสียเหล่านี้เกิดขึ้นมากมาย ซึ่ง หากองค์กรไม่ให้ความสนใจสังเกต และพยายามปรับปรุงแก้ไขวิธีการทำงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น ความสูญเสียก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ทำให้หน่วยงานหรือองค์ต้องสูญเสียลูกค้า และกำไรที่ควรได้ไป การลดความสูญเสียถือเป็นหน้าที่ของพนักงานและผู้บริหารทุกคน ดังนั้นทุกคนต้องมีความรู้ มีจิตสำนึกการสังเกตหาสาเหตุ และแนวทางแก้ไขป้องกันเพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายทีไม่จำเป็น ซึ่งเป็นหนทางที่ใช้ในการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตเพื่อความอยู่รอดขององค์การ วัตถุประสงค์ 1. ได้เรียนรู้และตระหนักถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นในการทำงาน 2. เกิดความรู้แล้วความเข้าใจเทคนิคการสังเกตความสูญเสีย 7 ประการ 3. สามารถ ลดความสูญเสีย 7 ประการได้ อันได้แก่ – ความสูญเปล่าจากการผลิตมากเกินจำเป็น – ความสูญเปล่าจากการเก็บวัสดุคงคลัง – ความสูญเปล่าจากการผลิต […]

Read more

การลดต้นทุน

หลักการและเหตุผล การปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นของพนักงานเป็นสิ่งสำคัญในธุรกิจปัจจุบัน เพราะการแข่งขันไม่ได้ขึ้นอยู่กับการผลิตให้ได้มากเท่าไร แต่จุผลิตอย่างไรให้เกิดของเสียน้อยที่สุดในทุกกระบวนการ การปรับปรุงงานด้วยการลดต้นทุนการผลิตหรือกระบวนการทำงานเบื้องต้นเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้บริหารทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่อย่างมีคุณค่า มีประสิทธิภาพสูงสุดและรักษาระดับคุณภาพให้มีมาตรฐาน ส่งผลให้ธุรกิจมีกำไรเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการที่จะขจัดความสูญเสียเพื่อการบริหารค่าใช้จ่ายและลดต้นทุนในงานที่รับผิดชอบ เนื้อหาหลักสูตร 1. การสร้างจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมในการลดต้นทุน 2. เทคนิคการลดค่าใช้จ่ายและลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ความสูญเสียในกระบวนการบริหารภายในองค์กร 4. กิจกรรมเสริมความเข้าใจ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ ระยะเวลาการอบรม : 1 วัน วิธีการอบรม : การบรรยายและการทำกิจกรรมกลุ่ม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : เข้าใจความสำคัญของการลดต้นทุนและนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล [spacing amount=10″]“

Read more

Top